Sub Navigation Links

แผนแม่บทการบริหารการจัดการทรัพยากรน้ำตามฝั่งตะวันออก และตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา โดย รศ.เสรี ศุภราทิตย์ ตอนที่ 1

* * *นครปฐม แผนแม่บทการบริหารการจัดการทรัพยากรน้ำตามฝั่งตะวันออกและตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา รศ.เสรี_ศุภราทิตย์ ณาตยา_แววีรคุปต์* * *
Facebook
download

การให้ข้อมูล แผนแม่บทการบริหารจัดการทรัพยากรน้า ตามแนวฝั่งตะวันออกและตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยา รวมทั้งพื้นที่ น้าท่วมถึง และทางระบายน้าหลาก Flood Way โดย รศ. เสรี ศุภราทิตย์ ผอ.ศูนย์มนุษย์ศาสตร์วิทยา และคณะกรรมการ ยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบบริหารจัดการทรัพยากรน้า(กยน.)
การพูดคุยในวันนี้มาจากความไม่เชื่อมั่นของประชาชนใน
เรื่องของข้อมูล ต้องเปิดเผยประชาชนเข้าถึง และการประเมินประสิทธิผล ซึ่งส่งผลให้ประชาชนเกิดการตื่นตัว ประชาชนไม่ไว้วางใจทาให้ประชาชนต้องเสาะแสวงหาข้อมูลเอง ดังนั้นวันนี้จึงจะมาพูดคุยกันในเรื่องของ ข้อมูลจริงเป็นอย่างไร แล้วจะแก้ไขได้อย่างไร ให้มีการรวบรวมข้อมูลปล่อยน้ามาเท่าไหร่ ฝนตกลงมาอีก เท่าไหร่ ค้างอยู่ข้างบน เท่าไหร่ วิธีแก้ปัญหาคือ ต้องจัดการน้าในปริมาณเท่าไหร่ แล้วค่อยหาวิธีการแก้ปัญหา

ว่าปล่อยเท่าไหร่ เก็บเท่าไหร่ถึงจะเหมาะสม ในขณะที่แก้มลิงไม่สามารถรองรับได้อย่างเพียงพอ ทั้ง ๒ ประเด็นนี้ จึงทาให้เห็นว่าเราต้องจัดการต้นน้า กลางน้า ปลายน้าอย่างไร จัดการแกล้มลิงให้พอได้อย่างไร สุดท้ายพื้นที่เศรษฐกิจจะทาอย่างไร
อาจารย์เสรีเล่าต่อว่าเราควรจะอยู่อย่างไร (๑) อยู่กับน้า (๒) ถมดิน (๓) สู้ (ต่างคนต่างทา) รัฐควร จะมาดูว่าถ้าตัดสินใจทาตอนใดไปต้องคิดถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับตอนปลายน้าด้วย ปี ๒๕๕๕ มีแผนทา คันกั้นน้าชั่วคราวตั้งแต่ริมแม่น้าป่าสัก และริมแม่น้าเจ้าพระยา วิธีการนั้น จะทาอย่างไร บางพื้นที่ทาคันดิน บางพื้นที่ทาถนนสูง ๕๐ หน้าที่ของกรมทางหลวงชนบท ส่วนในพื้นที่เศรษฐกิจรัฐจะทาคันปิดล้อม รวมแล้ว ประมาณ ๓๐๐ กม. ใช้เวลาประมาณ ๔-๕ เดือนจะเสร็จ ดังนั้น ควรมีการประเมินประสิทธิผลก่อนว่าทาแล้ว จะดีหรือไม่ จะเกิดอะไรขึ้นกับนครปฐม ซึ่งยังเป็นช่องว่างอยู่คือยังไม่มีการประเมินประสิทธิผล รัฐมอบให้เป็น หน้าที่ของกระทรวงวิทยาศาสตร์ กยน. มีหน้าทแี่ คใ่ ห้คาปรึกษา และให้ความสาคัญกับการประเมินประสิทธิผล ตอนนีถ้้าทกุพืน้ที่ต้องการป้องนา้ ทาให้ท้ายนา้ยิ่งสงูขนึ้ กยน.ไมส่ามารถตอบได้ดงันนั้หน่วยปฏิบตัิต้องมา
ทา มาตรการแบบนี้จะกระทบอะไรบ้าง ตรงไหนได้ประโยชน์ ตรงไหนเสียประโยชน์ ประเด็นที่น่าสนใจต้องมีการประเมินประสิทธิผลแล้ว สิ่งจาเป็นต้องสร้างแบบจาลองขึ้นมา หรือ
ประเมินคร่าวๆ ในระยะยาวสร้างแบบจาลองขึ้นมาแล้วว่าน้าจะไปทางไหนคือนาน้าส่วนเกินระบายออกไป ทางขวา ทางซ้าย ในระยะยาวต้องทา EIA และ HIA หรือใน ๔-๕ ปี ควรคุยกันถึงพื้นท่ีไหนจะปกป้อง พื้นที่ ไหนปล่อยน้าเข้า สถานการณ์น้าปีนี้ไม่น่าจะเกิดน้าท่วม อิทธิพลของความชื้นลดลง แต่อาจเกิดสิ่งไม่แน่นอน คือ พายุ แต่ปีหน้าอาจน้าแล้ง เพราะเราปล่อยน้าจนหมดเคลื่อน ไม่มีน้าทาเกษตร ดังนั้น เราควรเตรียมการ ป้องกันไว้ก่อน รัฐบาลควรมีมาตรการลงมา แต่มาตรการที่ลงมานั้นไม่ชัดเจนเพราะไม่มีการประเมิน ประสิทธิผล จึงทาให้ต่างคนต่างทาส่งผลกระทบรุนแรง ต่างคนต่างป้องน้าที่ไหลลงมาก็จะยิ่งส่งผลให้น้าท่วม
ข้อสังเกตการให้ข้อมูลของอาจารย์เสรี ผู้เข้าร่วมให้ความสนใจ พร้อมกับเปิดเวทีให้ผู้เข้าร่วมได้ แลกเปลี่ยนซักถาม การเสนอข้อมูลทาให้ผู้เข้าร่วมเกิดความเข้าใจชัดเจนมากยิ่งขึ้น

และเป็นตอกย้าด้วยว่า หากประชาชนไม่ติดตามข้อมูล เฝ้าระวัง ไม่รับทราบโครงการที่จะเข้ามาจะทาให้เกิดแรงต้าน อย่างไรก็ตาม ต้องเปิดเวที เปิดเผยข้อมูลข่าวสารให้ประชาชนได้รู้ รัฐต้องกระจายข้อมูลให้เกิดความเข้าใจให้ถ่องแท้ก่อน หรือการเสนอแนะสิ่งที่ควรทาคือ รัฐต้องมาชี้แจงข้อมูล(ข้อเท็จจริง) และการรวมพลังของประชาชน หน่วยงาน ภาคีที่เกี่ยวข้องโดยเฉพาะภาครัฐให้หันหน้าเข้ามาพูดคุยทาความเข้าใจกันเพื่อกาหนดแผนพัฒนาต่อการ บริหารจัดการน้าร่วมกันอย่างสมานฉันท์
ตบท้ายด้วยการประมวลข้อเสนอในที่ประชุม ต่อด้วยแถลงการณ์ข้อเสนอของคนนครปฐมต่อการ จัดการภัยพิบัติต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพร้อมกับการสร้างความรู้สึกร่วมต่อการลุกขึ้นมารวมพลังต่อการเฝ้า ระวัง ร่วมกันจัดการ “คนนครปฐมคิดอย่างไรกับฟลัดเวย์ ท่ามกลางการขับกล่อมบทประพันธ์ “น้าต้องมีทาง ให้รี่ไหล

login to rate

ระดับความนิยม:

อัพโหลดโดย:  webmaster

วันที่:  24th Apr 12

จำนวนผู้ฟัง:  3117

แสดงความคิดเห็น:  0

เพิ่มเป็นเสียงที่ชื่นชอบ:  0

หมวด:   สมัชชาสุขภาพจังหวัด

แจ้งเสียงไม่เหมาะสม

เพิ่มเป็นเสียงที่ชื่นชอบ

ส่งอีเมล์ให้เพื่อน


(สามารถนำโค๊ดนี้ไปแสดงที่เว็บไซต์หรือ MySpace,Friendster,Blogger ของคุณได้!)