Sub Navigation Links

เวทีเสวนา นโยบายการจัดการน้ำประเทศไทย ปี ๒๕๕๕ ฟ้าลิขิต หรือถูกเลือกให้ ในเวทีสาธารณะ คนนครปฐมคิดอย่างไร กับ ฟลัดเวย์ ตอนที่ 1

* * *นโยบายการจัดการน้าประเทศไทยปี๒๕๕๕ คนนครปฐมคิดอย่างไรกับฟลัดเวย์ นายอภินันท์_จันทรังษี อ.ประเชิญ คนแทศ อ.ปราโมทย์_ไม้กล้ด รศ.กัมปนาท_ภักดีกุล กรรณิการ์_บรรเทิงจิตร สมลักษณ์_หุตาวัตร นครปฐม* * *
Facebook
download

โดย: webmaster

จำนวนผู้ฟัง: 2674

โดย: webmaster

จำนวนผู้ฟัง: 3357

โดย: webmaster

จำนวนผู้ฟัง: 3117

โดย: webmaster

จำนวนผู้ฟัง: 2639

พิธีเปิดอย่างเป็นทางการ โดย นายอภินันท์ จันทรังษี รองผู้ว่าราชการจังหวัดนครปฐม นอกจากการกล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมเวทีในวันนี้ มีผู้เข้าร่วม ประมาณ ๑,๐๐๐ คน ที่มาจากผู้ที่ได้รับผลกระทบจากมหาอุทกภัย หน่วยงาน ภาคีทั้งในระดับพื้นที่ และภายนอก เวทีเสวนา นโยบายการจัดการน้าประเทศไทยปี ๒๕๕๕ ฟ้าลิขิต หรือถูกเลือกให้
ด้าเนินรายการโดย คุณณาตยา แวววีรคุปต์ (TPBS) ครั้งนี้มาดาเนินรายการในฐานะลูกหลานคน นครปฐมที่ชวนพูดชวนคุยต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านวงเสวนานี้ อ.ประเชิญ คนแทศ กล่าวถึงสถานการณ์ที่ผ่านมาของการเกิดมหา อุทกภัย รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของสายน้าที่นาเสนอประกอบสื่อ PowerPoint ที่ทาให้ผู้เข้าร่วมได้เห็นภาพมากขึ้น โดยเปรียบเทียบน้าเป็นมหากองทัพที่โจมตี นครปฐม บทเรียนนี้ได้สร้างพลังร่วมของคนนครปฐมในการฟื้นฟูชุมชน และการ เกิดเวทีสาธารณะครั้งนี้จะนาไปสู่การกาหนดอนาคตของคนนครปฐมอย่างไรต่อ ฟลัดเวย์นี้ โดยกล่าวถึงบนฐานข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง พร้อมกับการให้ข้อมูล สถานการณ์โครงการการจัดการน้าของรัฐที่คาดว่าจะเกิดขึ้นกับพื้นที่นครปฐม โดยเฉพาะลุ่มน้าท่าจีนว่าจะมีโครงการทาผนังกั้นน้าตลอดแนวแม่น้าท่าจีน ซึ่งเป็น

โจทย์ร่วมกันว่าคนนครปฐมจะเอาอย่างไร? กับเรื่องนี้? อ.ปราโมทย์ ไม้กลัด อดีตอธิบดีกรมชลประทาน และคณะกรรมการ บริหารจัดการน้าฯ กล่าวโดยตอกย้าถึงกระบวนการทาแผนพัฒนาระบบการ จัดการน้าและอุทกภัยที่สร้างความสับสนต่อประชาชนเป็นอย่างมาก สถานการณ์ต่อการจัดการเรื่องนี้ สิ่งสาคัญเกิดจากหลักคิดเป็นส่วนใหญ่ต่อการ เสนอโครงการของรัฐว่ามีโครงการนั้น โครงการนี้ การบริหารการจัดการน้าใดๆก็ตาม ต้องนามาสู่การศึกษา วิเคราะห์อย่างรอบด้านที่ต้องคานึงถึงภูมิสังคม และประชาชนให้มากที่สุด รวมทั้งการทาโครงการผนังกั้นน้า แม่น้าท่าจีนไม่ใช่เรื่องง่าย ซึ่งต้องใช้กระบวนการมีส่วนร่วมอย่างมาก ชุมชนสามารถใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญ ขณะเดียวกันต้องใช้ระบบข้อมูลประกอบการวางแผนเพื่อการพัฒนาต่อระบบการบริหารจัดการน้า รวมทั้ง ประกอบการตัดสินใจอย่างไรที่ประชาชนคนนครปฐมต้องมีส่วนร่วมเป็นสาคัญต่อการจัดการเรื่องนี้
รศ.กัมปนาท ภักดีกุล คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดลนอกจากการนาเสนอPowerPoint เป็นข้อมูลประกอบที่ เห็นภาพค่อนข้างชัดเจน เพื่อให้เข้าใจต่อสถานการณ์ทั้งระบบตั้งแต่ต้นน้า กลาง น้า ที่โยงจนมาถึงนครปฐมเห็นภูมินิเวศที่มีความสัมพันธ์กับระบบภูมิเวศชุมชน อาจารย์กัมปนาทยังกล่าวว่าการจัดการน้านั้นเราปฏิเสธไม่ได้อีกต่อไปที่ไม่คิดทั้ง ระบบ อย่าคิดแยกส่วน โดยเฉพาะต้องคานึงระบบนิเวศสังคมของชุมชน ประกอบการวางแผนเป็นสาคัญ อย่าใช้เพียงสัญชาตญาณในการตัดสินใจต่อ ระบบที่ซับซ้อนนี้ ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบกับระบบการจัดการน้าเป็นระบบที่มี

ความซับซ้อน ระบบการจัดการไม่สามารถแยกส่วนต่อการจัดการ ดังนั้นการบริหารจัดการน้าในทศวรรษใหม่นี้ ต้องใช้ระบบการจัดการน้าแบบ“สหวิทยาการ̶ บนความท้าทายต่อการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงเพื่อ บรรเทาภัยความรุนแรง ตลอดจนการเปลี่ยนสิทธิการถือครอง หรือสิทธิผู้ใช้น้า รวมทั้งกระบวนการเรียนรู้ของ ชุมชนต่อการวางแผนเพื่อดาเนินการ
นางกรรณิการ์ บรรเทิงจิตร เลขาธิการสานักงานคณะกรรมการสุขภาพ แห่งชาติ ในฐานะคนนอกพื้นที่ไม่ใช่คนนครปฐม ที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันเป็นเพียง องค์กรสนับสนุนจากภายนอก พร้อมกับกล่าวชื่นชมต่อการเคลื่อนพลเห็นพลังภาค พลเมืองคนนครปฐมในครั้งนี้ ซึ่งเกิดจากการพัฒนานโยบายสาธารณะของคนพื้นที่ ของคนนครปฐม อาจารย์กรรณิการ์ยังให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่ายังมีช่องทางของพรบ. ที่ เอื้อต่อการขับเคลื่อนนอกเหนือภายใต้สิทธิตามรัฐธรรมนูญ เช่น พรบ.ข้อมูล ข่าวสาร พรบ.สุขภาพแห่งชาติ

พร้อมกับการตั้งโจทย์ต่อความท้าทายว่าคนนครปฐมจะทาอย่างไรให้เกิด การพัฒนานโยบายสาธารณะที่นาไปสู่การปฏิบัติที่ผ่านกระบวนการฉันทามติ ซึ่งสามารถใช้กระบวนการ สมัชชาสุขภาพหรือสมัชชาปฏิรูปเป็นอีกเครื่องมือหนึ่ง ตอ่ กระบวนการแก้ไขปัญหาร่วมกันเพื่อให้เกิดความร่วม ไม้ ร่วมมือจากทุกภาคส่วน ตลอดจนการพัฒนานโยบายสาธารณะในเรื่องอื่นๆ

นางสมลักษณ์ หุตานุวัตร ผู้แทนอาสาฝ่าน้าท่วม (Thai Fight Flood) กล่าวเปิดประเด็นว่า เราจะปกป้องพื้นที่เสี่ยงภัย พื้นที่อุทกภัย คือการปกป้อง พื้นที่อาหารสาคัญได้อย่างไร โดยมีการนาเสนอกรณีตัวอย่างต่อการจัดการภัย พิบัติของประเทศเนเธอร์แลนด์ที่มีระบบการจัดการที่น่าสนใจเพื่อชี้ให้เห็นต่อ ระบบการบริหารจัดการทั้งระบบ เช่น ระบบแผนที่ การตั้งเมือง ระบบคูคลอง

การจ่ายค่าชดเชยเมื่อประชาชนประสบภัย ตลอดจนมีระบบการวางแผนที่เห็นแผนระยะยาวถึง ๑๐๐ ปี หลังจากนั้นกล่าวชื่นชมและให้กาลังใจกับคนนครปฐม พร้อมกับเสนอเพิ่มเติมว่าในขณะที่คนนครปฐมมีทุนทาง สังคม ทุนของพื้นที่ ที่มีความอุดมสมบูรณ์ทั้งพืชพรรณอาหาร โดยเฉพาะสิ่งสาคัญเห็นพลังความร่วมมือทั้งภาค วิชาการ ภาครัฐ ภาคประชาชนที่ตื่นตัวเพื่อลุกขึ้นมาจัดการต่อเรื่องนี้

เวทีเสวนา ;นโยบายการจัดการน้าประเทศไทยปี ๒๕๕๕ ฟ้าลิขิต หรือถูกเลือกให้; แม้จะไม่ได้ คาตอบที่ชัดเจนมากกนักว่า พื้นที่ฟลัดเวย์จะมาจริงหรือไม่ แต่เห็นบรรยากาศของเวทีที่สร้างการตื่นตัว การ แลกเปลี่ยนเสนอข้อคิดเห็นของผู้เข้าร่วมดูคึกคักที่ประชาชนคนนครปฐม และจังหวัดใกล้เคียง(สมุทรสาคร) ต่างเสนอต่อประเด็นดังกล่าว ส่วนใหญ่ให้ความคิดเห็นตรงกันว่าต้องนาไปสู่การสร้างการมีส่วนร่วมต่อเรื่องนี้ ร่วมกัน และสิ่งสาคัญกับความท้าทายการรับมือและตั้งรับต่อเรื่องนี้ร่วมกันอย่างไรบนสถานการณ์ข้อมูล ข้อเท็จจริงต่อการบริหารจัดการน้า นอกจากการสร้างกระแสในการเรียนรู้ร่วมกันของคนนครปฐมคิดอย่างไร กับฟลัดเวย์ หรืออาจเป็นการเริ่มต้นอีกครั้งของคนนครปฐมที่ลุกขึ้นมาปกป้องดูแลรักษาพื้นที่ของตนเองเฉก เช่นการรวมพลังสร้างอานาจในการต่อรองเหมือน ปี ๒๕๔๕ กรณีการคัดค้านการสร้างเขื่อนแม่น้าท่าจีน ปี ๒๕๕๐ การคัดค้านนโยบายขุดคลองลัดแม่น้าท่าจีน และ ปี ๒๕๕๕ เพื่อปกป้องรักษานโยบายการจัดการน้า (ฟ้าลิขิต หรือถูกเลือกให้) ต่อกรณพี ืนที่ฟลัดเวย์ (Flood Way)....

login to rate

ระดับความนิยม:

อัพโหลดโดย:  webmaster

วันที่:  24th Apr 12

จำนวนผู้ฟัง:  2684

แสดงความคิดเห็น:  0

เพิ่มเป็นเสียงที่ชื่นชอบ:  0

หมวด:   สมัชชาสุขภาพจังหวัด

แจ้งเสียงไม่เหมาะสม

เพิ่มเป็นเสียงที่ชื่นชอบ

ส่งอีเมล์ให้เพื่อน


(สามารถนำโค๊ดนี้ไปแสดงที่เว็บไซต์หรือ MySpace,Friendster,Blogger ของคุณได้!)